วันจันทร์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2554

กิจกรรมที่ 3 : การใช้โปรแกรม SPSS

1. การเริ่มเข้าสู่โปรแกรม SPSS  for  Windows
บนจอจะมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้
       1.Title  Bar  ชื่อไฟล์
       2. Menu  Bar  เมนูคำสั่ง
       3. Icon Bar  สัญลักษณ์คำสั่ง
       4. SPSS Data  Editor ตารางสำหรับการป้อนข้อมูล มี 2 ส่วน คือ
            4.1  Data  View  สำหรับการป้อนข้อมูล
            4.2  Variable  View สำหรับการกำหนดตัวแปรข้อมูล ดังนี้
File      เป็นเมนูคำสั่งที่ใช้เปิดแฟ้ม  สร้างแฟ้ม บันทึกแฟ้มข้อมูล
            อ่านแฟ้มข้อมูลที่สร้างโดยโปรแกรมอื่น ๆ
Edit     เป็นเมนูที่ใช้แก้ไข คัดลอก ตัด ค้นหาข้อมูลภายในหน้าต่างๆ
View   เป็นเมนูที่ใช้จัดแบบตัวอักษร และรูปแบบต่าง ๆ
Data    เป็นเมนุคำสั่งที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงแฟ้มข้อมูล
Transform  เป็นเมนูที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงตัวแปรของแฟ้มข้อมูล 
Analyze  ใช้เรียกคำสั่งในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
Graphs  ใช้ในการสร้างกราฟ
Utilities  ใช้ในการกำหนดตัวแปร 
Window  ใช้ในการจัดเรียงหน้าต่างในรูปแบบต่าง ๆ
Help  เป็นคำอธิบายช่วยเหลือ
2. การเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์
            เป็นแบบสอบถาม  จำนวน  20 ชุด
3. การสร้างไฟล์ข้อมูล
           โดยเลือก Variable view แล้วกำหนดชื่อตัวแปรทั้งหมด
ในไฟล์ประกอบด้วย
          1. Name  เป็นการกำหนดชื่อตัวแปร
          2. Typ     เป็นการกำหนดชนิดของตัวแปร
          3. Width เป็นการกำหนดความกว้าง
         4. Decimals  เป็นการกำหนดจำนวนหลักหลังจุดทศนิยม
         5. lables  เป็นการกำหนดคำอธิบายตัวแปร
         6. Values  เป็นการกำหนดคำอธิบายค่าของตัวแปร
         7. Missing เป็นการกำหนดค่าท่ไม่สมบูรณ์ของตัวแปร
         8. Column  เป็นการกำหนดรูปแบบการวาง
         9. Align เป็นการกำหนดรูปแบบการจัดวางข้อมูล
        10. Measure เป็นการกำหนดสเกลของข้อมูล
          - Nominal  ข้อมูลที่กำหนดเป็นกลุ่ม ๆ เช่น เพศ
จากนั้นพิมพ์ เพศ ไปที่ Value 1 = Value Label ชาย
Value 2 = Value Label หญิง   ระดับคะแนน ดังนี้ Scale 1-5
Value 1 = Value Label น้อยที่สุด Value 2 = Value Label น้อย
Value 3 = Value Label ปานกลาง Value 4 = Value Label มาก
Value 5 = Value Label มากที่สุด เมื่อทำครบทั้ง 5 ให้กดO.K
4. การกรอกข้อมูล  ต้องเปลี่ยนหน้าจอเป็น Data View
5. การบันทึกแฟ้มข้อมูลให้เลือก  File แล้วไปที่ Save As
6. การปรับปรุงแก้ไขข้อมูล
โดยใช้คำสั่ง Transform  คำสั่ง  Compute
     - ใช้คำนวณค่าของตัวแปรชนิดตัวเลข
     - Target  Variable  ต้องระบุชื่อตัวแปรใหม่ ซึ่งเป็น
ตัวแปรที่รับค่าที่ได้จากการคำนวณโดยใช้คำสั่งCompute
Ta - Td หมายถึง จำนวนด้านที่ 1-จำนวนด้านที่ 4
     -  Numeric Expression เป็นคำสั่งที่กำหนดค่าให้
Target  VariableโดยเปิดหาFunctions SUM(numexpr,numexpr..)
ในช่อง Numeric Expression: SUM(a1,a2,a3,a4 )/4 
หมายถึง จำนวนข้อหารด้วยจำนวนด้าน
7. การเปิดไฟล์ข้อมูลจากเมนู File ไป Open ไป Data
8. การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
Analyze  คลิก Descriptive Statistics และ escriptive
ta,tb,tc,td หมายถึง ด้านมีกี่ด้านใส่เป็น a…แล้วแต่เรากำหนด
เปิดหน้าจอ Descriptive พิมพ์ เพศ a1,a2,a3,a4 แล้วย้ายไป
Variable  a1,a2,a3,a4 SUM tt คือ (ta,tb,tc,td)/4 หาร 4โดย 4
คือ ด้านรวมทั้งหมดมีกี่ด้านเลือก 0.k จะได้ผลลัพธ์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น